One Day After Peace หนังสารคดี ออกมาในปี 2012 ผลงานของผู้กำกับ Erez Laufer …
จุฬารัตน์ ดำรงวิถีธรรม
เรื่องเล่าจากหมู่บ้านจัดสรร
3 เมษายน 2563 – ชุมชนเสมือนจริง ท่ามกลางสถานการณ์โควิด-19 ที่ใครต่อใครต้องทำงานที่บ้าน การอยู่บ้านหรือคอนโดในเมืองหลวงอาจจะไม่ใช่เรื่องน่าภิรมย์นัก เพราะหันซ้าย หันขวา …
“ถังแดง : การซ่อมสร้างประวัติศาสตร์ และความทรงจำหลอนในสังคมไทย” โดย จุฬารัตน์ ดำรงวิถีธรรม (Rattanaporn Taecharachkit)
ฉันเพิ่งไปเยือนหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา ของอดีตชาวพรรคคอมมิวนิสต์มลายาที่จังหวัดยะลา ไปรู้ไปเห็นแล้วกลับมาครุ่นคิดอยู่นานว่า ทำไมหลังจากพังพ่ายแล้วพรรคฯ มลายา จึงยังรวมกันติด สามารถอยู่ด้วยกันเป็นหมู่เป็นกลุ่ม ร่วมกันสร้างบ้านสร้างถิ่นที่อยู่ของตัวเองเป็นปึกแผ่น มีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีพอสมควร ในหมู่บ้านมีทั้งอนุสรณ์แห่งการต่อสู้ …
“ถังแดง” ในงานเสวนา “วัตถุพยาน กับความทรงจำบาดแผล | เปิดนิทรรศการ ประจักษ์ | พยาน” – ชมคลิป
งานเสวนา “วัตถุพยาน กับความทรงจำบาดแผล | เปิดนิทรรศการ ประจักษ์ I พยาน” วันที่ 5 …
จาก ถังแดง ถึง บิลลี่ และสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ความเป็นอื่นที่รัฐพยายามกำจัด (The Momentum)
เมื่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือ DSI รายงานความคืบหน้าการสอบสวนคดีของบิลลี่ว่าพบชิ้นส่วนกระดูกจำนวน 2 ชิ้น ถังน้ำมันขนาด 200 ลิตร เหล็กเส้น …
ถังแดง : ความทรงจำบาดแผลที่ไม่เคยห่างหายไปจากสังคมไทย (สิรนันท์ ห่อหุ้ม)
พอละจี หรือ บิลลี่ รักจงเจริญ แกนนำกะเหรี่ยงโป่งลึก-บางกลอย ได้หายตัวไปอย่างลึกลับ ตั้งแต่เมื่อวันที่ 17 เม.ย. 2557 …
เผาลงถังแดง (ปราปต์ บุนปาน)
วันเสาร์ที่ผ่านมา ได้อ่านบทสัมภาษณ์น่าสนใจ หัวข้อ “ถังแดง” บทเรียนจากความตาย จุฬารัตน์ ดำรงวิถีธรรม “ถีบลงเขา เผาลงถังแดง” โดย วจนา …
“ถังแดง” บทเรียนจากความตาย จุฬารัตน์ ดำรงวิถีธรรม “ถีบลงเขา เผาลงถังแดง” (วจนา วรรลยางกูร)
วลีที่ได้ยินกันอย่างแพร่หลาย แต่ความทรงจำของสังคมในเรื่องนี้กลับเลือนราง อาจเพราะเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในบางพื้นที่ ในระยะเวลาหนึ่ง ไม่เป็นที่รับรู้ของสังคม ข่าวถูกเสนอขึ้นมาเมื่อเหตุการณ์จบไปหลายปีแล้ว และไม่มีการสืบสวนนำตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ แต่ยืนยันความโหดร้ายในวิธีที่เจ้าหน้าที่รัฐใช้เข้าปราบปรามกับประชาชนได้ดี เหตุการณ์ “ถังแดง” …
ค้ำกระบวนการสันติภาพให้คงอยู่ : ความจำเป็นและเรื่องท้าทายของโครงสร้าง เพื่อรองรับสันติภาพ/กระบวนการสันติภาพ (Peace Infrastructure)
หากเปรียบความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นเด็ก ปีนี้เด็กคนนี้กำลังจะมีอายุครบ 12 ปี เป็นช่วงวัยของการเปลี่ยนแปลงจากเด็กไปสู่ความเป็นผู้ใหญ่มากขึ้นทั้งในแง่ร่างกาย พฤติกรรม และความรู้สึกนึกคิด เป็นวัยหัวเลี้ยวหัวต่อที่สำคัญ บางคนเรียกว่า เป็นวัยแห่งการไขว่คว้าหาอิสรภาพ …
เรียน อาจารย์อัฮหมัด สมบูรณ์ บัวหลวง ที่เคารพ
นับตั้งแต่ตัวเองเริ่มสนใจปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ก็ได้ยินชื่อนักวิชาการและคนสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้อยู่ไม่กี่ชื่อ ซึ่งแน่นอนว่า “อัฮหมัด สมบูรณ์ บัวหลวง” เป็นหนึ่งในชื่อเหล่านั้น แม้จะเคยได้ยินแต่ก็ไม่เคยได้เจอ จนกระทั่งเมื่อไม่กี่ปีมานี้เอง ได้รู้จักและมีโอกาสร่วมงานกับอาจารย์หลายครั้ง …