Showing: 1 - 7 of 7 RESULTS
จุฬารัตน์ ดำรงวิถีธรรม

การสร้างและการช่วงชิงความทรงจำ “ถังแดง”

ต้นปี 2518 หลังจากมีชาวพัทลุงมาร้องเรียนทางการต่อ กรณี กอ.รมน. ฆ่าราษฎรลงถังแดงและได้ใช้วิธีการต่าง ๆ อีกมาก จนมีการแต่งตั้งผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยเป็นกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริง ซึ่งต่อมามีข้อสรุปว่า …

บทความ

“ถังแดง: การซ่อมสร้างประวัติศาสตร์ และความทรงจำหลอนในสังคมไทย” โดย จุฬารัตน์ ดำรงวิถีธรรม (Rattanaporn Taecharachkit)

ฉันเพิ่งไปเยือนหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา ของอดีตชาวพรรคคอมมิวนิสต์มลายาที่จังหวัดยะลา ไปรู้ไปเห็นแล้วกลับมาครุ่นคิดอยู่นานว่า ทำไมหลังจากพังพ่ายแล้วพรรคฯ มลายา จึงยังรวมกันติด สามารถอยู่ด้วยกันเป็นหมู่เป็นกลุ่ม ร่วมกันสร้างบ้านสร้างถิ่นที่อยู่ของตัวเองเป็นปึกแผ่น มีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีพอสมควร ในหมู่บ้านมีทั้งอนุสรณ์แห่งการต่อสู้ …

The Storytelling

“ถังแดง” ในงานเสวนา “วัตถุพยาน กับความทรงจำบาดแผล | เปิดนิทรรศการ ประจักษ์ | พยาน” – ชมคลิป

งานเสวนา “วัตถุพยาน กับความทรงจำบาดแผล | เปิดนิทรรศการ ประจักษ์ I พยาน” วันที่ 5 …

บทความ

จาก ถังแดง ถึง บิลลี่ และสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ความเป็นอื่นที่รัฐพยายามกำจัด (The Momentum)

เมื่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือ DSI รายงานความคืบหน้าการสอบสวนคดีของบิลลี่ว่าพบชิ้นส่วนกระดูกจำนวน 2 ชิ้น ถังน้ำมันขนาด 200 ลิตร เหล็กเส้น …

บทความ

ถังแดง: ความทรงจำบาดแผลที่ไม่เคยห่างหายไปจากสังคมไทย (สิรนันท์ ห่อหุ้ม)

พอละจี หรือ บิลลี่ รักจงเจริญ แกนนำกะเหรี่ยงโป่งลึก-บางกลอย ได้หายตัวไปอย่างลึกลับ ตั้งแต่เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2557 …

บทความ

“ถังแดง” บทเรียนจากความตาย จุฬารัตน์ ดำรงวิถีธรรม “ถีบลงเขา เผาลงถังแดง” (วจนา วรรลยางกูร)

วลีที่ได้ยินกันอย่างแพร่หลาย แต่ความทรงจำของสังคมในเรื่องนี้กลับเลือนราง อาจเพราะเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในบางพื้นที่ ในระยะเวลาหนึ่ง ไม่เป็นที่รับรู้ของสังคม ข่าวถูกเสนอขึ้นมาเมื่อเหตุการณ์จบไปหลายปีแล้ว และไม่มีการสืบสวนนำตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ แต่ยืนยันความโหดร้ายในวิธีที่เจ้าหน้าที่รัฐใช้เข้าปราบปรามกับประชาชนได้ดี เหตุการณ์ “ถังแดง” …