ผมเดินทางเข้าตัวเมืองจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตามหาคู่สามีภรรยา อดีตชาวค่ายอาสาฯ ม.รามคำแหง สิ่งที่ทำให้ผมสนใจตัวตนพี่ทั้ง 2 นอกจากบทบาทความเป็นชาวค่ายอาสา ก็คือบทบาทการเป็นนักดนตรี เคยมีอัลบั้มเป็นของตัวเอง ในนามวง …
กลุ่มรองเท้าแตะ
ประวัติเพลง “เธอวันนี้” ของ วงนางนวล
ค่ายฯ หนึ่งทางภาคเหนือ…เมื่อหลายปีมาแล้ว ในระหว่างที่พวกเรากำลังนั่งผ่อนคลายรอบกองไฟ หลังจากการสรุปงานประจำวัน ผมก็ยังรับบทบาทเดิมก็คือ มือกีตาร์ รุ่นน้องผมคนหนึ่งเดินมานั่งข้างๆ พร้อมวางหนังสือเพลงค่ายฯ แบบทำมือ (ถ่ายเอกสาร) …
เมื่อถึงเวลา…ดอกไม้จะบานเอง (ทิดโส โม้ระเบิด)
ผมนั่งคิดอะไรเล่น ๆ ที่สนามบินเชคแล็บก๊อกของฮ่องกง เวลา 2 วันที่ได้ใกล้ชิดผูกพันกับคนกลุ่มหนึ่ง ผู้ชึ่งเรียกกลุ่มของตัวเองว่า “สมาคมรวมไทยในฮ่องกง” บางคำถามยังก้องอยู่ในความคิดคำนึง “ทุกคนกำลังทำอะไร?”“ทำไปเพื่ออะไร?” อาชีพแม่บ้านในฮ่องกง ต้องปฏิบัติงานสารพัดในบ้านนั้น …
ความเป็นมาเพลง ใครเปิดไฟให้ดาว (ก่อคเณศ รุ้งสันเทียะ)
ใครเปิดไฟให้ดาว เพลงนี้ถูกเขียนขึ้นในค่ำวันนั้น มันเป็นวันที่ข้าพเจ้ากำลังง้วน วุ่น ยุ่งอยู่กับการเขียนบทความเพื่อแนบเอกสารประกอบ โครงการโรงเรียนร้อยหวันพันธุ์ป่า ม.3 ต.เกาะเต่า อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง เพื่อส่งไปยังที่ต่าง …
อัลบั้ม เพลงค่ายฯ (ที่ว่าง…ระหว่างเส้นลวด 6 สาย)
เมื่อวัยรุ่น…ผมอยากเป็นนักดนตรีอาชีพ อยากมีอัลบั้มเป็นของตัวเอง… แต่มันก็ล้มเหลวไป จากนั้นผมหันไปทำค่ายอาสาฯ ทำงานเพื่อสังคม แต่เสียงเพลงและดนตรีก็ยังคงวนเวียนอยู่ในชีวิตผมอย่างสม่ำเสมอ อัลบั้ม “เพลงค่ายฯ (ที่ว่าง…ระหว่างเส้นลวด 6 …
สถานเลี้ยงเด็กที่ไม่มีวันโต (ปิยะวัฒน์ นามโฮง)
บ่อยครั้งที่เราได้ยิน ได้เห็น ได้สัมผัส กับสิ่งที่เรียกว่าความจริงที่ควรจะเป็นให้ทัศนะของเรา และมีไม่กี่ครั้งที่เราหรือใคร ๆ ตอบมันได้ว่าสิ่งที่เราเผชิญอยู่ทุกวันมันคืออะไรกันแน่ อาจจะเป็นความจริงหรือไม่ใช่? คำถามง่าย ๆ …
ริมฝั่งสาละวินมีเรื่องเล่า ริมรั้วตะโละหะลอมีเรื่องราว
“ประเทไท รั้วะเลือเนื้อชาเชื้อไท” เด็กปกาเกอะญอไร้สัญชาติแข่งกันตะเบงเสียง แสดงความเคารพต่อแผ่นดินที่พวกเขาเกิดและเติบโต บ่ายของวันที่ 13 ตุลาคม 2548 นี่เป็นครั้งแรกในชีวิตที่ได้นั่งเรือทวนน้ำสาละวิน ขึ้นไปยังจุดหมายปลายทาง …
รวมพล “คุณหนูกบฏ” สวมรองเท้าแตะสร้างสังคม (นสพ. มติชน)
เคยตั้งคำถามถามตัวเองกันบ้างไหมว่า “สังคมในอุดมคติเป็นสังคมแบบไหน?” เป็นสังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยีล้ำยุค เป็นสังคมที่มีแต่ความแก่งแย่งชิงดี เป็นสังคมที่ในน้ำมีปลาในนามีข้าว หรือเป็นสังคมที่อยู่อย่างพอเพียง ถามง่าย แต่ตอบยากชะมัด.. แต่…สำหรับคนรุ่นใหม่กว่า 30 ชีวิต ที่เรียกตัวเองว่า “กลุ่มรองเท้าแตะ” ถามและให้คำตอบที่ชัดแจ้งว่าพวกเขาอยากได้สังคมที่มีแต่ “ความเท่าเทียม” ซึ่งเมื่อเป็นเช่นนี้ …
เศษหนึ่งส่วนชีวิต (รษฎา ปณาลี)
“จะไปค่ายเหรอ ค่ายอะไรน่ะ” คำถามจากเพื่อนที่ได้รับรู้ว่าฉันจะไปค่าย บางครั้งฉันถามตัวเองบ่อย ๆ ว่า “คิดอย่างไรกับค่าย” “ค่ายให้อะไรกับเราบ้าง” “เราให้อะไรกับค่ายกับชาวบ้านที่เป็นหัวข้อหลัก” หลายคนมีถ้อยประโยคที่ตอบคำถามแตกต่างกันและไม่มีคำตอบไหนที่ผิด …
วันก่อน ค่ายสร้าง วันนี้ Voluntourism (นสพ. กรุงเทพธุรกิจ)
ห้องน้ำ โรงเรียน ศาลา ผลงานยอดฮิตเด็กค่ายยุคโบราณ วันนี้ หนุ่มสาวจิตใจอาสา ทำอะไรได้มากกว่านั้น ขึ้นชื่อว่าคนค่าย ไม่มีใคร ไม่เคยร้องเพลงนี้ …
ที่มาของกลุ่มรองเท้าแตะ ตอนที่ 4 – ไปสู่เธอ
เมื่อผมขับรถออกจากบ้านไม่นาน เครื่องเสียงห่วย ๆ ในรถ ก็บังเกิดเสียงเพลงขึ้น… “ถนนทอดยาว สองเท้าก้าวเดิน เมื่อไกลเกินฝัน ใจมันท้อผู้คนมากมาย วุ่นวายไม่เคยพอ …
ที่มาของกลุ่มรองเท้าแตะ ตอนที่ 3 – โบกโบยบิน
“ถึงแม้ว่าสังคมไทยจะเต็มไปด้วยความเจริญก้าวหน้าทางด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยี แต่ในทางกลับกันความเจริญทางด้านจิตใจของคนไทยกับถอยร่นลงทุกวัน ดังจะเห็นได้จากปัญหาสังคมมากมายที่ต้องเผชิญ อีกด้านหนึ่ง แม้สังคมจะเต็มไปด้วยสิ่งที่ล่อลวงให้หลงใหล ไม่ว่าจะเป็นการใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟื่อยเพื่อซื้อหาสิ่งของที่ทำให้ตนดูเหมือนว่าทันสมัย ไปจนถึงการหมกหมุ่นกับเพศสัมพันธ์และการรื่นเริงบันเทิงใจในรูปแบบต่าง ๆ …
ที่มาของกลุ่มรองเท้าแตะ ตอนที่ 2 – เผชิญโชค
ชายแดนไทย – ลาว อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ระหว่างเส้นทางถนนดินลูกรัง ฝุ่นสีแดงฟุ้งกระจายตามหลังรถ 6 ล้อ ระยะทางประมาณ 30 กิโล ตลอดสองข้างทางยังพอมีภูเขาเล็ก ๆ …
ที่มาของกลุ่มรองเท้าแตะ ตอนที่ 1 – ก้าวเดิน
ในคืนไร้ดาว หากเหลือแต่เพียงแสงจากไฟเสาสปอร์ตไลท์เกาะกลางถนน สายลมโชยเอื่อย ๆ มาปะทะร่างกายอันอ่อนหล้าจากภาระแห่งชีวิต เป็นปกติธรรมดาที่คนอย่างผมยังไม่กลับบ้าน แต่กลับหักพวงมาลัยตรงไปยังถนนเส้นหนึ่ง ถนนเส้นที่ผ่านหน้าสถาบันการศึกษาชื่อดัง (ย่านรามคำแหง) สถาบันที่ผมใช้ชีวิตนิสิต …