– 1 – …เป็นกำลังใจแด่ผีเสื้อปีกบางตัวนั้น…. แต่ละย่างก้าวยามย่ำลงไปบนพื้น ทำให้เกิดเสียงบดเบียดของใบไม้แห้งที่ทับถมกันหนาบนลานใต้ไม้ใหญ่ ครั้นหยุดเดิน เสียงนั้นจึงหยุดไปตามจังหวะก้าวของฉันไปด้วย ลมหายใจของฤดูกาลนี้ยะเยือกเย็น โรยมาแต่ละครั้งพาให้สะท้านไปทั้งตัว …
ศิลปะเพื่อชีวิต
จุดประกาย… คีต (ดนตรี) เพื่อจิตสาธารณะ (นพ. เหวง โตจิราการ)
“คีตกวี” เป็นคำที่มีความหมายกว้างขวางมาก ผมคงไม่สามารถครอบคลุมได้ทั้งหมด จึงขอย่อส่วนลงมากล่าวถึงเฉพาะในเรื่อง “เพลง” เท่านั้น และแม้แต่ในเรื่อง “เพลง” เองก็เช่นกัน ยังคงครอบคลุมปริมณฑลที่กว้างขวางใหญ่โตเกินกว่าที่ผมจะรอบรู้ไปได้ทั้งหมด …
มาลีฮวนน่า วงแตก!!
ไม่เคยมีคอเพลงเพื่อชีวิตคนใต้ คนใดคาดคิดว่าจุดแตกหักและความขัดแย้งกันอย่างรุนแรง โดยมีผลประโยชน์เรื่องเงินๆ ทองๆ เป็นเงื่อนไขสำคัญจะเกิดขึ้นกับวงดนตรีเพื่อชีวิตวงดังที่อยู่ในหัวใจของคนภาคใต้ หรือคนภาคอื่น ๆ ทั้งประเทศอย่าง วงมาลีฮวนน่า วันนี้ชัดเจนแล้วว่า 2 …
มาลีฮวนน่า ดอกไม้ดนตรีเพื่อชีวิต
รากกำเนิดของวงมาลีฮวนน่าเริ่มต้นเมื่อปี 2534 โดยกลุ่มนักศึกษาศิลปะที่รวมตัวกันโดย คฑาวุธ ทองไทย ช่วงนั้นกำลังเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร, ธงชัย รักษ์รงค์ เล่นดนตรีอยู่ตามผับทางใต้, สมพงค์ …
ลำนำบทเพลงถ่ายทอดเรื่องราว 14 ตุลา 2516 – ชมคลิป
โครงการสัมมนานักจัดรายการวิทยุ หัวข้อ “นักจัดรายการวิทยุ วิถีที่สร้างสรรค์และรับผิดชอบสังคม” ในวาระการจัดงาน ครบรอบ 30 ปี 14 ตุลาคม โดย คณะอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ …
หงา คาราวาน 30 ปี บนถนนนักเขียนและดนตรีขบถ (ผู้สื่อข่าวสายเดี่ยว)
หลายคนชื่นชอบบทเพลงของคาราวาน ซึ่งส่วนใหญ่แล้วแต่งโดย “สุรชัย จันทิมาธร” ความชื่นชมส่วนหนึ่งนั้นย่อมมาจากถ้อยคำอันสละสลวยเป็นบทกวีที่เต็มไปด้วยสัญลักษณ์เชิงเปรียบเทียบ เป็นเพลงปฏิวัติที่แสนโรแมนติกสำหรับใครหลายคน เป็นเพลงที่มีท่วงทำนองเรียบง่ายแต่กลับส่งต่อกำลังใจให้ผู้คนได้อย่างมีพลัง และที่สำคัญ ก็คือ มีความต่อเนื่องยาวนานนับได้ …
ประวัติเพลง “นกเขาไฟ” ของ พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ
นกเขาไฟคำร้อง – ทำนอง : พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ ภูบ่สูง แต่ว่าห้วยมันลึก ภูบ่ลึก แต่ว่าเมืองมันไกลภูบ่เล็ก …
เสวนา “เพลงเพื่อชีวิตในปัจจุบันยังรับใช้สังคมอยู่….จริงหรือ?” (6 กุมภาพันธ์ 2546)
เสวนา “เพลงเพื่อชีวิตในปัจจุบันยังรับใช้สังคมอยู่….จริงหรือ?”งานวันเราอาสา ครั้งที่ 6 โดย ชมรมค่ายอาสาพัฒนาชนบทวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2546 ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC …
นาวาชีวิต คนของสายน้ำ อรรณพ ศรีสัจจา (นสพ. มติชน)
วัย 41 ของเขาบันทึกเรื่องราวไว้มากมายทีเดียว ในฐานะเป็นคนเขียนรูปที่ไม่ยอมเรียกตนเองว่าศิลปิน เล่นดนตรีหาเงินเรียน แต่งเพลง ออกเทป 4 ชุด เขียนหนังสือมีคำและภาพสวย …
เพลงเพื่อชีวิตในพม่า ชีวิตไม่สิ้นก็ยังต้องดิ้นไป (ไพรัตน์ พงศ์พานิชย์)
ในสังคมไทย กระแสเพลงเพื่อชีวิตถูกพัฒนา และได้รับการยอมรับจนเป็นแนวดนตรีหลัก ในท่วงทำนองเดียวกับที่เคยปรากฏเพลงลูกทุ่งและเพลงไทยสากล อันเกิดจากการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมดนตรีท้องถิ่นกับภายนอก คาราวาน ได้รับการยอมรับว่าเป็นต้นแบบในการใช้ดนตรี เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนพลังของมวลชนในทิศทางเดียวกันกับกระแสทางการเมือง เป็นวิวัฒนาการต่อเนื่องจากยุคแห่งบรมครูที่เขียนเพลงขึ้นจากชีวิต สะท้อนแง่มุมดิบๆ …
ลมเอยช่วยเป็นสื่อให้… (สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล)
ผมอ่านข่าวการถึงแก่กรรมของ “วิมล พลจันทร” หรือ “ป้าลม” ภรรยาของ “นายผี – อัศนี พลจันทร” …
ผมไม่ใช่โจร คุณ 2 คนน่ะสิที่เป็นโจร (ตุ๋ย ชมรมฯ)
เมื่อประมาณต้นปี 2539 หลังจากที่คาราบาวออกชุด “คาราบาว 15 ปี หากหัวใจยังรักควาย” ผมก็ทราบข่าวว่าคาราบาวจะไปออก 7 สีคอนเสริต์ ผมก็มานั่งนึกว่าเราไม่ได้ดูคาราบาวเล่นครบ 7 …
10 ปี เมด อิน ไทยแลนด์ (ตุ๋ย ชมรมฯ)
ผมได้มีโอกาสเขียนเรื่องที่ตั้งใจจะเขียนไว้แล้ว คือ เรื่องฟังเพลงคาราบาวแล้วได้ข้อคิดในเรื่องใดบ้าง แต่บังเอิญไปเจอนิตยสาร “สีสัน” เล่มเก่าอยู่ในห้องเก็บของ จึงนำเอามานั่งอ่าน แล้วรู้สึกชอบ ผมจึงขอเอาเรื่องราวในนิตยสารสีสัน มาลงให้อ่านกันก่อน แล้วในเรื่องต่อไปจึงจะนำเรื่องที่ผมเขียนมาลงครับ ผมขออนุญาตบรรณาธิการนิตยสารสีสัน …
ผลพวงจาก เมด อิน ไทยแลนด์ (ตุ๋ย ชมรมฯ)
ก่อนหน้าการเกิดของ “คาราบาว” มีวงดนตรีแนวสะท้อนสังคมที่โด่งดังจริงๆ อยู่ 2 วง คือ “คาราวาน” และ “แฮมเมอร์” วงแรกนั้นถือเป็นผู้บุกเบิกเพลงแนวนี้ แต่ก็ห่างหายไประยะหนึ่งเพราะลี้ภัยการเมืองเข้าไปอยู่ในป่า พร้อมกับพรรคพวกร่วมแนวทางอีกหลายวง แฮมเมอร์จึงเป็นเพียงหนึ่งเดียวที่ทำงานเพลงอยู่ในเมือง การทำเพลงของวงสะท้อนสังคมในยุคนั้นเป็นดนตรีอะคูสติค เพราะมีพื้นฐานจากเพลงโฟล์คตะวันตก …
จรัล ตอนที่ 9 : ป่าและภูเขาของจรัลในกรุงเทพฯ (อันยา โพธิวัฒน์)
“ไม้กลางกรุง” เป็นชื่อของร้านอาหารอีกแห่งหนึ่งของ จรัล มโนเพ็ชร และผู้จัดการส่วนตัวของเขา มานิด อัชวงศ์ หลังจากที่คุณมานิดปิดกิจการร้านอาหาร ร้านแรกบนถนนสุโขทัย ย่านเขตอำเภอดุสิต บ้านหรือร้านอาหารแห่งนี้ตั้งอยู่ริมถนนเศรษฐศิริ ใกล้ๆ กับสถานีรถไฟสามเสนและไม่มีที่จอดรถ เพราะแม้แต่ริมฟุตบาทหน้าร้านก็กลายเป็นเขตห้ามจอด หลังจากมีการสร้างทางด่วนใกล้ …
จรัล ตอนที่ 8 : คือชีวิต คือความฝัน คือ จรัล มโนเพ็ชร (ทิดโส โม้ระเบิด)
ผมฟังเพลงของอ้าย “จรัล มโนเพ็ชร” มาตั้งแต่ชุดแรก ๆ และติดตามมาตลอด ด้วยความรู้สึกแรกที่ได้ยินคือ ภาษาที่แปลกหู การนำภาษาคำเมืองมาถ่ายทอดผ่านบทเพลง เป็นจุดเด่นที่สุดที่มองเห็นในงานของอ้ายจรัลเมื่อแรกสัมผัส แต่เมื่อฟังไปหลาย ๆ …
จรัล ตอนที่ 7 : ครู (ทองศรี จันทร์ธง)
ตั้งแต่รู้จักและได้มีส่วนร่วมในการทำงานของเขาตั้งแต่ปี 2540 รู้จักตัวตนของเขา รู้สึกงานของเขา รู้ซึ้งถึงความตั้งใจ ที่แน่วแน่และทุ่มเท รู้ว่าเขารักงานของเขาเพียงใดฉันชื่นชอบเขา ไม่ใช่ชื่นชอบในความเป็นนักร้อง ศิลปิน หรือดารานักแสดง …
จรัล ตอนที่ 6 : แด่จรัล.. เพื่อนผู้ที่ชีวิตนี้มีแต่การทำงาน (บารเมศ วรรณสัย)
เสียงโทรศัพท์ดังขึ้นเมื่อเวลา 03.10 นาฬิกา ภรรยาของผมตื่นขึ้นมารับสายและปลุกผมตื่น บอกว่า ป้าหมู โทรมาบอกว่าอ้ายเป็นลม และขอเบอร์โทรศัพท์บ้านเตี่ย เพื่อเรียกเตี่ยคือ มานิด อัชวงศ์ ตัวผมเองรีบตื่นขึ้นมาทันที และเรีบแต่งตัวไปบ้านดวงดอกไม้ ขณะที่นั่งรถไปโดยภรรยาของผมเป็นคนขับ …
จรัล ตอนที่ 5 : แด่ดอกไม้ของฉันด้วยงานศพ (อันยา โพธิวัฒน์)
ปี 2526 ฉันรู้จักบุรุษหนึ่งเป็นนักร้อง นักแต่งเพลง และนักดนตรี อยู่ในร่างเดียวกัน บางคนเรียกเขาว่า กวีแต่กวีบางคนเรียกเขา คีตกวีต่อตัวฉันเขาคือ ดอกไม้ … ดอกไม้ดอกเดียวของฉัน “ตัวโน้ตทุกตัวอยู่ในตัวบุรุษนี้”ฉันเชื่อและจะเชื่อตลอดไป …
จรัล ตอนที่ 4 : จรัล มโนเพ็ชร เป็นทั้งพ่อ พี่ แม่ เพื่อน (ไตรศุลี มโนเพ็ชร)
สิ่งที่ท่านทำเป็นความภูมิใจของญาติพี่น้องและคนที่รู้จักทุกคน สิ่งที่ท่านทำทุกอย่างไม่เคยหวังถึงผลประ โยชน์ส่วนตน ท่านทำทุกอย่างเพื่อทุกคน เป็นผู้เสียสละตลอดมา ท่านไม่เคยบอกว่าท้อแท้ ถึงจะรู้ว่าท่านเหนื่อย ท่านก็ยังแข็งแกร่งในสายตาผมเสมอ ความรู้สึกที่ท่านมีให้ผมตั้งแต่เกิดมาจนบัดนี้ ไม่เคยเปลี่ยนแปลงไปแม้แต่น้อย …
จรัล ตอนที่ 3 : งานเพลงชิ้นสำคัญและเป็นงานชิ้นสุดท้าย ของ จรัล มโนเพ็ชร
จรัล มโนเพ็ชร ได้ใช้เวลาว่างที่มีอยู่ในช่วง 4 ปีสุดท้ายของชีวิต ทำงานในสตูดิโอส่วนตัวที่บ้านหม้อคำตวง กรุงเทพฯ ด้วย 1 ปัญญา พร้อม …
จรัล ตอนที่ 2 : ประวัติชีวิตและผลงาน
จรัล มโนเพ็ชร (ชาตะ 1 มกราคม 2494 / มรณะ 3 กันยายน …
จรัล ตอนที่ 1 : ศิลปินล้านนา
จรัล มโนเพ็ชร เกิดวันที่ 1 มกราคม 2498 ณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ บิดาชื่อ สิงห์แก้ว มโนเพ็ชร ผู้เชี่ยวชาญและมีฝีมือเป็นเยี่ยมในการประดิษฐ์ …
ลูกะนู – เสียงฝัน…ปลาสองน้ำ
“ลูกะนู” มาจากคำว่า “ลูก-นู” ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นภาคใต้ หมายถึง กระสุนของหนังสติ๊ก ทำด้วยดินเหนียว นำมาปั้น คลึงจนกลมแล้วนำไปตากแดดอ่อนๆ จนแห้ง …
ไทลากูน – นักสู้ ผู้หวงถิ่น
“ไทลากูน” เป็นชื่อที่ กนกพงศ์ สงสมพันธุ์ (กวีซีไรท์ ปี 2539) ตั้งให้ “ไท” หมายถึง ไทพื้นเมือง หรือไทนักสู้ …
ปรากฎการณ์สองทศวรรษ บนสายธารเพลงเพื่อชีวิต #5 (ชูเกียรติ ฉาไธสง)
สำหรับวงหัวขบวนอย่าง คาราวาน หลังจากอัลบั้มชุด แสดงคอนเสิร์ทฟอร์ยูนิเซฟ ครั้งที่ 1 แล้ว ก็ยังมีผลงานทยอยออกมาอีกหลายชุดคือ บ้านนาสะเทือน , คนตีเหล็ก จากนั้นพวกเขาก็สร้างความแปลกใจด้วยการเปลี่ยนแนวดนตรีครั้งใหญ่จากแนว “อคูสติค” มาเป็นแนว “อีเล็คทริค” (ไฟฟ้า) โดยนักดนตรีมืออาชีพใหม่ ๆ …
ปรากฎการณ์สองทศวรรษ บนสายธารเพลงเพื่อชีวิต #4 (ชูเกียรติ ฉาไธสง)
คงไม่ผิดนักที่จะกล่าวว่าจุดเด่นของ “คาราบาว” มาจากสิ่งสำคัญสองอย่าง – หนึ่ง นั้นคือความคิดในเชิงสังคมอย่างเป็นระบบของหัวหน้าวงอย่าง ยืนยง โอภากุล รวมทั้งฝีมือการเขียนเพลงและเสียงร้องที่ทรงพลังของเขาด้วย สอง นั้นคือฝีมือดนตรีของเพื่อนร่วมวงที่อยู่ในระดับมือพระกาฬทุกตัวคน ซึ่งจะหาวงดนตรีเพื่อชีวิตรุ่นนั้นเทียบได้ยาก คาราบาว มีนักดนตรีในวงที่ล้วนแล้วแต่มาจากมืออาชีพส่วนใหญ่จะเล่นเป็นอาชีพมาอย่างยาวนานและโชกโชน ฝีมือโซโลกีตาร์ของ ปรีชา ชนะภัย และ เทียรี่ เมฆวัฒนา นั้นอยู่ในระดับแนวหน้าของเมืองไทยได้อย่างเต็มภาคภูมิ ฝีมือเรียบเรียงดนตรีของ ธนิศน์ …
ปรากฎการณ์สองทศวรรษ บนสายธารเพลงเพื่อชีวิต #3 (ชูเกียรติ ฉาไธสง)
จุดหักเหครั้งใหญ่ของแวดวงเพลงเพื่อชีวิตในยุคนั้น คือความรุนแรงชนิดถึงเลือดถึงเนื้อในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 นักดนตรีเพื่อชีวิตทั้งหลายนั้นเป็นที่คุ้นหน้าคุ้นตาเป็นอย่างดี ชนิดที่ไปที่ไหนก็จำได้เพราะทำหน้าที่ขับกล่อมบทเพลงบนเวทีการเมืองมาโดยตลอด สถานการณ์อันสับสนในช่วงนั้นความโดดเด่นกลับเป็นปัญหาอย่างยิ่ง เหล่านักดนตรีเพื่อชีวิตส่วนใหญ่จึงต้องหลบเร้นไปสู่ราวไพร พร้อมกับขบวนคลื่นนักศึกษาประชาชนนับหมื่นคน พวกเขาต่างกระจัดกระจายไปคนละทิศคนละทาง คาราวาน และ โคมฉาย ซึ่งไปเล่นดนตรีที่ขอนแก่นพอดี …
ปรากฎการณ์สองทศวรรษ บนสายธารเพลงเพื่อชีวิต #2 (ชูเกียรติ ฉาไธสง)
ความแหลมคมของสถานการณ์ในช่วงหลัง 14 ตุลาคม 2516 ใหม่ ๆ ก่อให้เกิดสายธารวัฒนธรรมเพื่อชิวิตอย่างต่อเนื่อง คงไม่ผิดนักที่จะนับได้ว่าเพลงเพื่อชีวิตเป็นเพลงอันตรายในความรู้สึกของผู้มีอำนาจรัฐอยู่ในมือ เพลง “คนกับควาย” ถึงกับถูกสั่งห้ามร้องในช่วงระยะเวลาหนึ่ง นำมาซึ่งการต่อต้านจากเหล่าศิลปินและนักศึกษาประชาชน …
ปรากฎการณ์สองทศวรรษ บนสายธารเพลงเพื่อชีวิต #1 (ชูเกียรติ ฉาไธสง)
เพลงเพื่อชีวิตนั้นหากจะกล่าวโดยความหมายตรงๆ ก็คงหมายถึงบทเพลงที่สะท้อนสังคมด้วยความเป็นจริง หรือบทเพลงที่ตีแผ่ความทุกข์ยากของผู้ถูกกดขี่หรือบทเพลงแห่งมวลมนุษยชาติอะไรทำนองนั้น ความหมายของคำก็อาจจะตีความกันไปได้ต่าง ๆ นานา แล้วแต่จะว่ากันไป อันที่จริงเพลงไทยสมัยคุณพ่อคุณตาเรามีเพลงประเภทนี้อยู่แล้ว เพียงแต่อาจจะไม่เป็นที่แพร่หลายในวงกว้างมากนัก อันเนื่องมาจากเงื่อนไขของการจำกัดสิทธิทางการรับรู้ของประชาชนในสมัยนั้นและความที่เพลงเหล่านี้ยังไม่เป็นเอกภาพที่ชัดเจนนัก …
เส้นทางวรรณกรรมเพื่อชีวิต จาก พ.ศ. 2492 ถึงปัจจุบัน
ผลิบาน – วรรณกรรมเพื่อชีวิตช่วงปี 2492-2495 จุดเริ่มของ “วรรณกรรมเพื่อชีวิต” น่าจะมาจากแนวคิดเรื่อง “ศิลปะเพื่อชีวิต” ซึ่งนำเสนอโดย อัศนี …
ประวัติ วงกรรมาชน (ตี้ กรรมาชน)
“เพื่อลบรอยคราบน้ำตาประชาราษฎร์ สักพันชาติจักสู้ม้วยด้วยหฤหรรษ์แม้นชีพใหม่มีเหมือนหวังอีกครั้งครัน จักน้อมพลีชีพนั้นเพื่อมวลชน” บทกวีนี้ในช่วงปี พ.ศ. 2516-2519 มักจะได้ยินเสียงโฆษกหนุ่มนักศึกษาผิวขาวผมยาวกล่าว ก่อนที่สมาชิกในวงจะเริ่มบรรเลง ท่วงทำนองของเพลง เพื่อมวลชน ซึ่งขึ้นต้นเนื้อเพลงว่า : …
ประวัติความเป็นมาของเพลง วงกรรมาชน
ก่อนอื่นต้องบอกกันก่อนว่า ยุคนั้นเป็นการแอนตี้ประเทศที่เรียกว่า “จักวรรดินิยม” (คือประเทศที่มีความเหนือกว่าในแง่อาวุธยุทโธปกรณ์ และความเจริญทางด้านวัตถุค่านิยมต่างๆ) และมักใช้กำลังทางทหารและการเมือง เข้าครอบงำและชี้นำ ตลอดจนสูบทรัพยากรจากประเทศที่อ้างว่าด้อยพัฒนากว่า ถ้าประเทศไหนไม่เห็นตามหรือต่อต้าน ก็จะอาศัยกำลังทหารเข้ารุกราน โดยอ้างความแตกต่างทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นสงครามเกาหลี …
กรรมาชน จากรั้วมหิดลถึงมวลชนปฏิวัติ
“กรรมาชน” เป็นวงดนตรีที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในกลุ่มวงดนตรีเพื่อชีวิตของนักศึกษา ที่ตั้งวงกันขึ้นมาโดยมีสมาชิกในวงเป็นนักศึกษาที่กำลังเรียนมหาวิทยาลัยล้วน ๆ กรรมาชนเป็นวงดนตรีของ นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาแพทย์ ลักษณะแนวคิดมีความรุนแรงก้าวหน้าในการต่อสู้ กับอำนาจของรัฐในขณะนั้น ลักษณะของวงดนตรีเดิมเป็นวงฮาร์ตร็อก ซึ่งเป็นที่นิยมในสังคมวัยรุ่นในยุคนั้น แต่กลับไม่ได้รับความนิยมมากในช่วงแรก วงกรรมาชน …
นี่คือ โคมฉาย ที่จะสาดส่อง
วงดนตรีเพื่อชีวิต คือ ส่วนประกอบหนึ่งของขบวนการนักศึกษาประชาชนผู้รักชาติประชาธิปไตย เป็นปีกของการต่อสู้ทางด้านวัฒนธรรม การก่อเกิดและดำเนินไปอยู่ภายใต้ความเรียกร้องต้องการของขบวนการโดยรวม ดังนั้นไม่ว่าท่วงทำนองเพลง คำร้อง ย่อม สะท้อนความเป็นจริงของเรื่องราวและอารมณ์ความรู้สึกในยุคสมัยนั้น ๆ …
ต้นกล้า 20 ปีในความทรงจำ – คำให้การนายกระเวก
ข้าฯ เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปีการศึกษา 2515 เสร็จการปฐมนิเทศ ก็ขึ้นไปป้วนเปี้ยนที่ชุมนุมดนตรีไทย ซึ่งอยู่ชั้น 3 ของโรงยิมเนเซียม ด้านติดคณะนิติศาสตร์ …
คุรุชน ครูผู้แบกกีตาร์เข้าหามวลชน
“คุรุชน” เป็นวงดนตรีที่ตั้งโดยอิทธิพลของกระแสการต่อต้านในแวดวงของนักศึกษาวิทยาลัยครู โดยเฉพาะที่วิทยาลัยครูสวนสุนันทา สมาชิกประกอบด้วย ศักดิ์สิทธิ์ เชื้อกลาง (จากจังหวัดหนองคาย) ศรัทธา หนูแก้ว (จากจังหวัดสุราษฎร์ธานี) ลิขิต บุญปลิว (จากจังหวัดสุรินทร์) เป็นแกนหลัก การออกแสดงครั้งแรกต่อสาธารณชนมาก …
สองทศวรรษเพลงเพื่อชีวิตหลัง 6 ตุลา – จากลานโพธิ์ถึงภูพาน (ปณิธาน)
6 ตุลา ผ่านมาครบ 2 ทศวรรษ เป็นประวัติศาสตร์แห่งความขัดแย้งและความรุนแรงทางการเมืองที่หลายๆ คนไม่อยากจะจดจำ คนจำนวนมากไม่อยากให้มีการรื้อฟื้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นที่นำไปสู่การ “ล้อมปราบ” …
ฟื้นอดีต ตะวันเพลิง (สุขุม เลาหพูนรังษี)
ละครสลึงเดียว ประมาณกลางหรือปลายปี 2517 ผมจำไม่ได้แน่ชัดรัฐบาลของท่านอาจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้ประกาศขึ้นค่าโดยสารรถเมล์ในกรุงเทพมหานคร (ซึ่งในตอนนั้นกิจการรถเมล์เป็นของเอกชน ยังไม่ได้รวมเป็น ขสมก. …
ฝันให้ไกลไปให้ถึง (วัฒน์ วรรลยางกูร)
ฟากฟ้าฝั่งฝัน ไกลกว้างเพียงไหนมิเหนือดวงใจ จะใฝ่จะฝันแลโลกสับสน และคนเศร้าโศกแลโลกทั้งโลก ขมฝืดเกินฝันโลกร้อนไฟลาม สงครามรุกรานเนื้อเลือดกระดูก , หัวใจร้าวราน มิใช่ความฝัน เราจึงใฝ่ฝันถึงสันติภาพเลี้ยงนกพิราบไว้ในความฝัน …