ม้าก้านกล้วย

หัวเราะร่า…น้ำตาริน

ในช่วงสุดสัปดาห์ของเทศกาลขึ้นปีใหม่เมื่อหลายที่ก่อน ผมมีภารกิจต้องเดินทางไปทำงานที่เชียงใหม่ ตามกำหนดการผมจะเดินทางกลับกรุงเทพโดยเครื่องบินรอบ 3 ทุ่มครึ่ง ของวันที่ 31 ธันวาคม จริง ๆ …

เรื่องสั้น

เรื่องร้าน (เมือง ไม้ขม)

“ป้าครับ ป้า ซื้อของหน่อยครับ” เสียงผู้ชายตะโกนเรียก “ค่า มาแล้วค่ะ เอาอะไรค่ะ” ผู้หญิงมีอายุผู้เป็นเจ้าของร้านถาม ขณะเดินมาจากหลังร้าน“ขอน้ำโหลหนึ่ง แล้วก็ …

ม้าก้านกล้วย

il Mare : โลกแคบลง แต่…เราห่างกันมากขึ้น

ในโลกยุคปัจจุบันนี้ ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีทำให้มนุษย์มีช่องทางที่จะติดต่อสื่อสารได้รวดเร็วขึ้น เช่น Internet ถ้าคุณต้องการจะทราบเหตุการณ์ความเป็นไปที่เกิดขึ้นในอีกซีกโลกหนึ่ง คุณก็แค่เพียง Click เข้าไปดู Homepage ของ …

ม้าก้านกล้วย

คนล่าจันทร์ : The Moon Hunter

สำหรับฉบับนี้การที่ผมเลือกที่จะเขียนเรื่องหนัง ก็ไม่ได้มีเหตุผลอะไรนอกจากความรู้สึก “โดน” เมื่อดูหนังเรื่องนี้จบลง ผมเองได้ทราบข่าวการนำประวัติของ “เสกสรรค์ ประเสริฐกุล” และ “จิระนันท์ พิตรปรีชา” …

ศิลปะเพื่อชีวิต

จรัล ตอนที่ 9 : ป่าและภูเขาของจรัลในกรุงเทพฯ (อันยา โพธิวัฒน์)

“ไม้กลางกรุง” เป็นชื่อของร้านอาหารอีกแห่งหนึ่งของ จรัล มโนเพ็ชร และผู้จัดการส่วนตัวของเขา มานิด อัชวงศ์ หลังจากที่คุณมานิดปิดกิจการร้านอาหาร ร้านแรกบนถนนสุโขทัย ย่านเขตอำเภอดุสิต บ้านหรือร้านอาหารแห่งนี้ตั้งอยู่ริมถนนเศรษฐศิริ ใกล้ๆ กับสถานีรถไฟสามเสนและไม่มีที่จอดรถ เพราะแม้แต่ริมฟุตบาทหน้าร้านก็กลายเป็นเขตห้ามจอด หลังจากมีการสร้างทางด่วนใกล้ …

ทิดโส โม้ระเบิด ศิลปะเพื่อชีวิต

จรัล ตอนที่ 8 : คือชีวิต คือความฝัน คือ จรัล มโนเพ็ชร (ทิดโส โม้ระเบิด)

ผมฟังเพลงของอ้าย “จรัล มโนเพ็ชร” มาตั้งแต่ชุดแรก ๆ และติดตามมาตลอด ด้วยความรู้สึกแรกที่ได้ยินคือ ภาษาที่แปลกหู การนำภาษาคำเมืองมาถ่ายทอดผ่านบทเพลง เป็นจุดเด่นที่สุดที่มองเห็นในงานของอ้ายจรัลเมื่อแรกสัมผัส แต่เมื่อฟังไปหลาย ๆ …

ศิลปะเพื่อชีวิต

จรัล ตอนที่ 7 : ครู (ทองศรี จันทร์ธง)

ตั้งแต่รู้จักและได้มีส่วนร่วมในการทำงานของเขาตั้งแต่ปี 2540 รู้จักตัวตนของเขา รู้สึกงานของเขา รู้ซึ้งถึงความตั้งใจ ที่แน่วแน่และทุ่มเท รู้ว่าเขารักงานของเขาเพียงใดฉันชื่นชอบเขา ไม่ใช่ชื่นชอบในความเป็นนักร้อง ศิลปิน หรือดารานักแสดง …

ศิลปะเพื่อชีวิต

จรัล ตอนที่ 6 : แด่จรัล.. เพื่อนผู้ที่ชีวิตนี้มีแต่การทำงาน (บารเมศ วรรณสัย)

เสียงโทรศัพท์ดังขึ้นเมื่อเวลา 03.10 นาฬิกา ภรรยาของผมตื่นขึ้นมารับสายและปลุกผมตื่น บอกว่า ป้าหมู โทรมาบอกว่าอ้ายเป็นลม และขอเบอร์โทรศัพท์บ้านเตี่ย เพื่อเรียกเตี่ยคือ มานิด อัชวงศ์ ตัวผมเองรีบตื่นขึ้นมาทันที และเรีบแต่งตัวไปบ้านดวงดอกไม้ ขณะที่นั่งรถไปโดยภรรยาของผมเป็นคนขับ …

ศิลปะเพื่อชีวิต

จรัล ตอนที่ 5 : แด่ดอกไม้ของฉันด้วยงานศพ (อันยา โพธิวัฒน์)

ปี 2526 ฉันรู้จักบุรุษหนึ่งเป็นนักร้อง นักแต่งเพลง และนักดนตรี อยู่ในร่างเดียวกัน บางคนเรียกเขาว่า กวีแต่กวีบางคนเรียกเขา คีตกวีต่อตัวฉันเขาคือ ดอกไม้ … ดอกไม้ดอกเดียวของฉัน  “ตัวโน้ตทุกตัวอยู่ในตัวบุรุษนี้”ฉันเชื่อและจะเชื่อตลอดไป …

ศิลปะเพื่อชีวิต

จรัล ตอนที่ 4 : จรัล มโนเพ็ชร เป็นทั้งพ่อ พี่ แม่ เพื่อน (ไตรศุลี มโนเพ็ชร)

สิ่งที่ท่านทำเป็นความภูมิใจของญาติพี่น้องและคนที่รู้จักทุกคน สิ่งที่ท่านทำทุกอย่างไม่เคยหวังถึงผลประ โยชน์ส่วนตน ท่านทำทุกอย่างเพื่อทุกคน เป็นผู้เสียสละตลอดมา ท่านไม่เคยบอกว่าท้อแท้ ถึงจะรู้ว่าท่านเหนื่อย ท่านก็ยังแข็งแกร่งในสายตาผมเสมอ ความรู้สึกที่ท่านมีให้ผมตั้งแต่เกิดมาจนบัดนี้ ไม่เคยเปลี่ยนแปลงไปแม้แต่น้อย …

ศิลปะเพื่อชีวิต

จรัล ตอนที่ 3 : งานเพลงชิ้นสำคัญและเป็นงานชิ้นสุดท้าย ของ จรัล มโนเพ็ชร

จรัล มโนเพ็ชร ได้ใช้เวลาว่างที่มีอยู่ในช่วง 4 ปีสุดท้ายของชีวิต ทำงานในสตูดิโอส่วนตัวที่บ้านหม้อคำตวง กรุงเทพฯ ด้วย 1 ปัญญา พร้อม …

ศิลปะเพื่อชีวิต

จรัล ตอนที่ 1 : ศิลปินล้านนา

จรัล มโนเพ็ชร เกิดวันที่ 1 มกราคม 2498 ณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ บิดาชื่อ สิงห์แก้ว มโนเพ็ชร ผู้เชี่ยวชาญและมีฝีมือเป็นเยี่ยมในการประดิษฐ์ …

ม้าก้านกล้วย

ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด : หากชีวิตมีรูปทรงเป็นสี่เหลี่ยม??

ในบ่ายวันหนึ่ง หลังจากคร่ำเคร่งกับการทำงานมาตั้งแต่เช้า ผมตัดสินใจเปลี่ยนอิริยาบถโดยการเดินไปชงกาแฟในห้องครัวของบริษัท ระหว่างนั้นผมคิดเล่นๆ ว่าถ้าเราจำลองชีวิตของเราเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีสมการทางคณิตศาสตร์เท่ากับ AxB A แทนค่าด้วยห้วงเวลาตั้งแต่แรกเกิดจนสิ้นลม ส่วนเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิตเท่ากับ B …

ม้าก้านกล้วย

The Road Home : ทางเดินแห่งรัก

กิจวัตรที่ผมมักจะทำในช่วงบ่ายๆ ของวันอาทิตย์ก็คือขับรถไปเช่าวิดีโอที่ร้านประจำแถวท่าพระจันทร์ เส้นทางที่ผมใช้จนติดเป็นนิสัยก็คือ ไปทางถนนราชดำเนินจนสุดทาง แล้วเลี้ยวขวาไปสนามหลวง (บริเวณนั้นมีลักษณะเป็นสี่แยกคือ ถ้าเลี้ยวซ้ายก็ไปศาลฎีกา ถ้าตรงไปก็คือสนามหลวง ถ้าเลี้ยวขวาก็จะขึ้นสะพานพระปิ่นเกล้า) ทุกครั้งที่ผมขับรถมาถึงแยกนี้ …

ม้าก้านกล้วย

The Talented Mr.Ripley

โดยธรรมชาติแล้วมนุษย์เป็นสัตว์สังคม หมายความว่ามนุษย์อยู่ตัวคนเดียวไม่ได้ ต้องอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะหรือที่เราเรียกว่า “สังคม” และการที่ใครสักคนจะเข้ามาเป็นสมาชิกของสังคมก็ย่อมต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่สังคมวางไว้ “The Talented Mr. Ripley” ก็เป็นเรื่องของชายคนหนึ่งที่พยายามพาตัวเองเข้าไปอยู่ในสังคมที่เขาต้องการ …

บทความ

จาก อะเดย์ กับ ซัมเมอร์ – aday & summer ขอเสนอ โอเพ่น และ ไทยคูน – open & Thaicoon (สมจุ้ย เจตนาน่าสนุก)

มีบทความ วิพากษ์วิจารณ์ แนวทางและรสนิยม ของนิตยสาร ซัมเมอร์ และ อะเดย์ ว่าเป็นนิตยสารที่อันตรายในการเผยแพร่ลัทธิ และรสนิยม….. ที่น่าเป็นห่วง …

บทความ

a day และ summer : นิตยสารทางเลือกที่อันตราย (ธดา)

“…เป็นคนค่อนไปทางสุขนิยม อะไรทุกข์ก็อยากจะลืม ๆ ไปบ้าง พยายามคิดค้นอีกด้านหนึ่ง เป็นคนชอบความสบายใจ ความสวยงาม แต่ก็ต้องมีความรู้ด้วย ตัวตน SUMMER …

ม้าก้านกล้วย

กินไม่ได้….แต่…เท่ห์

เมื่อวานนี้ผมไปซื้อรองเท้าหนังคู่ใหม่ เพราะว่าของเดิมที่ใช้อยู่มันสึกจนกินขึ้นมาถึงพื้นรองเท้าแล้ว ทั้ง ๆ ที่เพิ่งใช้มาได้ราว 8-9 เดือนเท่านั้น คงเป็นเพราะว่าแต่ละวันผมเดินต้องเดินไปโน่นมานี่ทั้งวัน โดยส่วนตัวผมชอบใส่รองเท้าผ้าใบมากว่ารองเท้าหนัง ทุกครั้งที่เดินผมจะรู้สึกสบายและคล่องตัวมากกว่าถ้าใส่รองเท้าผ้าใบ …

บทความ

อุดมการณ์ (นกเสรี)

“อุดมการณ์” ฟังดูแล้วรู้สึกยังไงกันบ้างครับกับคำๆ นี้ หลายคนอาจจะตั้งนิยามกันไปต่าง ๆ นานา แต่ไม่เป็นไร เอาเป็นว่า เราลองมาดูความหมายตาม พจนานุกรม …

ศิลปะเพื่อชีวิต

ลูกะนู – เสียงฝัน…ปลาสองน้ำ

“ลูกะนู” มาจากคำว่า “ลูก-นู” ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นภาคใต้ หมายถึง กระสุนของหนังสติ๊ก ทำด้วยดินเหนียว นำมาปั้น คลึงจนกลมแล้วนำไปตากแดดอ่อนๆ จนแห้ง …

ศิลปะเพื่อชีวิต

ปรากฎการณ์สองทศวรรษ บนสายธารเพลงเพื่อชีวิต #5 (ชูเกียรติ ฉาไธสง)

สำหรับวงหัวขบวนอย่าง คาราวาน หลังจากอัลบั้มชุด แสดงคอนเสิร์ทฟอร์ยูนิเซฟ ครั้งที่ 1 แล้ว ก็ยังมีผลงานทยอยออกมาอีกหลายชุดคือ บ้านนาสะเทือน , คนตีเหล็ก จากนั้นพวกเขาก็สร้างความแปลกใจด้วยการเปลี่ยนแนวดนตรีครั้งใหญ่จากแนว “อคูสติค” มาเป็นแนว “อีเล็คทริค” (ไฟฟ้า) โดยนักดนตรีมืออาชีพใหม่ ๆ …

ศิลปะเพื่อชีวิต

ปรากฎการณ์สองทศวรรษ บนสายธารเพลงเพื่อชีวิต #4 (ชูเกียรติ ฉาไธสง)

คงไม่ผิดนักที่จะกล่าวว่าจุดเด่นของ “คาราบาว” มาจากสิ่งสำคัญสองอย่าง – หนึ่ง นั้นคือความคิดในเชิงสังคมอย่างเป็นระบบของหัวหน้าวงอย่าง ยืนยง โอภากุล รวมทั้งฝีมือการเขียนเพลงและเสียงร้องที่ทรงพลังของเขาด้วย สอง นั้นคือฝีมือดนตรีของเพื่อนร่วมวงที่อยู่ในระดับมือพระกาฬทุกตัวคน ซึ่งจะหาวงดนตรีเพื่อชีวิตรุ่นนั้นเทียบได้ยาก คาราบาว มีนักดนตรีในวงที่ล้วนแล้วแต่มาจากมืออาชีพส่วนใหญ่จะเล่นเป็นอาชีพมาอย่างยาวนานและโชกโชน ฝีมือโซโลกีตาร์ของ ปรีชา ชนะภัย และ เทียรี่ เมฆวัฒนา นั้นอยู่ในระดับแนวหน้าของเมืองไทยได้อย่างเต็มภาคภูมิ ฝีมือเรียบเรียงดนตรีของ ธนิศน์ …

ศิลปะเพื่อชีวิต

ปรากฎการณ์สองทศวรรษ บนสายธารเพลงเพื่อชีวิต #3 (ชูเกียรติ ฉาไธสง)

จุดหักเหครั้งใหญ่ของแวดวงเพลงเพื่อชีวิตในยุคนั้น คือความรุนแรงชนิดถึงเลือดถึงเนื้อในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 นักดนตรีเพื่อชีวิตทั้งหลายนั้นเป็นที่คุ้นหน้าคุ้นตาเป็นอย่างดี ชนิดที่ไปที่ไหนก็จำได้เพราะทำหน้าที่ขับกล่อมบทเพลงบนเวทีการเมืองมาโดยตลอด สถานการณ์อันสับสนในช่วงนั้นความโดดเด่นกลับเป็นปัญหาอย่างยิ่ง เหล่านักดนตรีเพื่อชีวิตส่วนใหญ่จึงต้องหลบเร้นไปสู่ราวไพร พร้อมกับขบวนคลื่นนักศึกษาประชาชนนับหมื่นคน พวกเขาต่างกระจัดกระจายไปคนละทิศคนละทาง คาราวาน และ โคมฉาย ซึ่งไปเล่นดนตรีที่ขอนแก่นพอดี …

ศิลปะเพื่อชีวิต

ปรากฎการณ์สองทศวรรษ บนสายธารเพลงเพื่อชีวิต #2 (ชูเกียรติ ฉาไธสง)

ความแหลมคมของสถานการณ์ในช่วงหลัง 14 ตุลาคม 2516 ใหม่ ๆ ก่อให้เกิดสายธารวัฒนธรรมเพื่อชิวิตอย่างต่อเนื่อง คงไม่ผิดนักที่จะนับได้ว่าเพลงเพื่อชีวิตเป็นเพลงอันตรายในความรู้สึกของผู้มีอำนาจรัฐอยู่ในมือ เพลง “คนกับควาย” ถึงกับถูกสั่งห้ามร้องในช่วงระยะเวลาหนึ่ง นำมาซึ่งการต่อต้านจากเหล่าศิลปินและนักศึกษาประชาชน …

ศิลปะเพื่อชีวิต

ปรากฎการณ์สองทศวรรษ บนสายธารเพลงเพื่อชีวิต #1 (ชูเกียรติ ฉาไธสง)

เพลงเพื่อชีวิตนั้นหากจะกล่าวโดยความหมายตรงๆ ก็คงหมายถึงบทเพลงที่สะท้อนสังคมด้วยความเป็นจริง หรือบทเพลงที่ตีแผ่ความทุกข์ยากของผู้ถูกกดขี่หรือบทเพลงแห่งมวลมนุษยชาติอะไรทำนองนั้น ความหมายของคำก็อาจจะตีความกันไปได้ต่าง ๆ นานา แล้วแต่จะว่ากันไป อันที่จริงเพลงไทยสมัยคุณพ่อคุณตาเรามีเพลงประเภทนี้อยู่แล้ว เพียงแต่อาจจะไม่เป็นที่แพร่หลายในวงกว้างมากนัก อันเนื่องมาจากเงื่อนไขของการจำกัดสิทธิทางการรับรู้ของประชาชนในสมัยนั้นและความที่เพลงเหล่านี้ยังไม่เป็นเอกภาพที่ชัดเจนนัก …

ศิลปะเพื่อชีวิต

เส้นทางวรรณกรรมเพื่อชีวิต จาก พ.ศ. 2492 ถึงปัจจุบัน

ผลิบาน – วรรณกรรมเพื่อชีวิตช่วงปี 2492-2495 จุดเริ่มของ “วรรณกรรมเพื่อชีวิต” น่าจะมาจากแนวคิดเรื่อง “ศิลปะเพื่อชีวิต” ซึ่งนำเสนอโดย อัศนี …

ศิลปะเพื่อชีวิต

ประวัติ วงกรรมาชน (ตี้ กรรมาชน)

“เพื่อลบรอยคราบน้ำตาประชาราษฎร์ สักพันชาติจักสู้ม้วยด้วยหฤหรรษ์แม้นชีพใหม่มีเหมือนหวังอีกครั้งครัน จักน้อมพลีชีพนั้นเพื่อมวลชน” บทกวีนี้ในช่วงปี พ.ศ. 2516-2519 มักจะได้ยินเสียงโฆษกหนุ่มนักศึกษาผิวขาวผมยาวกล่าว ก่อนที่สมาชิกในวงจะเริ่มบรรเลง ท่วงทำนองของเพลง เพื่อมวลชน ซึ่งขึ้นต้นเนื้อเพลงว่า : …

ศิลปะเพื่อชีวิต

ประวัติความเป็นมาของเพลง วงกรรมาชน

ก่อนอื่นต้องบอกกันก่อนว่า ยุคนั้นเป็นการแอนตี้ประเทศที่เรียกว่า “จักวรรดินิยม” (คือประเทศที่มีความเหนือกว่าในแง่อาวุธยุทโธปกรณ์ และความเจริญทางด้านวัตถุค่านิยมต่างๆ) และมักใช้กำลังทางทหารและการเมือง เข้าครอบงำและชี้นำ ตลอดจนสูบทรัพยากรจากประเทศที่อ้างว่าด้อยพัฒนากว่า ถ้าประเทศไหนไม่เห็นตามหรือต่อต้าน ก็จะอาศัยกำลังทหารเข้ารุกราน โดยอ้างความแตกต่างทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นสงครามเกาหลี …

ศิลปะเพื่อชีวิต

กรรมาชน จากรั้วมหิดลถึงมวลชนปฏิวัติ

“กรรมาชน” เป็นวงดนตรีที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในกลุ่มวงดนตรีเพื่อชีวิตของนักศึกษา ที่ตั้งวงกันขึ้นมาโดยมีสมาชิกในวงเป็นนักศึกษาที่กำลังเรียนมหาวิทยาลัยล้วน ๆ กรรมาชนเป็นวงดนตรีของ นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาแพทย์ ลักษณะแนวคิดมีความรุนแรงก้าวหน้าในการต่อสู้ กับอำนาจของรัฐในขณะนั้น ลักษณะของวงดนตรีเดิมเป็นวงฮาร์ตร็อก ซึ่งเป็นที่นิยมในสังคมวัยรุ่นในยุคนั้น แต่กลับไม่ได้รับความนิยมมากในช่วงแรก วงกรรมาชน …

ศิลปะเพื่อชีวิต

นี่คือ โคมฉาย ที่จะสาดส่อง

วงดนตรีเพื่อชีวิต คือ ส่วนประกอบหนึ่งของขบวนการนักศึกษาประชาชนผู้รักชาติประชาธิปไตย เป็นปีกของการต่อสู้ทางด้านวัฒนธรรม การก่อเกิดและดำเนินไปอยู่ภายใต้ความเรียกร้องต้องการของขบวนการโดยรวม ดังนั้นไม่ว่าท่วงทำนองเพลง คำร้อง ย่อม สะท้อนความเป็นจริงของเรื่องราวและอารมณ์ความรู้สึกในยุคสมัยนั้น ๆ …

ศิลปะเพื่อชีวิต

ต้นกล้า 20 ปีในความทรงจำ – คำให้การนายกระเวก

ข้าฯ เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปีการศึกษา 2515 เสร็จการปฐมนิเทศ ก็ขึ้นไปป้วนเปี้ยนที่ชุมนุมดนตรีไทย ซึ่งอยู่ชั้น 3 ของโรงยิมเนเซียม ด้านติดคณะนิติศาสตร์ …

ศิลปะเพื่อชีวิต

คุรุชน ครูผู้แบกกีตาร์เข้าหามวลชน

“คุรุชน” เป็นวงดนตรีที่ตั้งโดยอิทธิพลของกระแสการต่อต้านในแวดวงของนักศึกษาวิทยาลัยครู โดยเฉพาะที่วิทยาลัยครูสวนสุนันทา สมาชิกประกอบด้วย ศักดิ์สิทธิ์ เชื้อกลาง (จากจังหวัดหนองคาย) ศรัทธา หนูแก้ว (จากจังหวัดสุราษฎร์ธานี) ลิขิต บุญปลิว (จากจังหวัดสุรินทร์) เป็นแกนหลัก การออกแสดงครั้งแรกต่อสาธารณชนมาก …

ค่ายอาสาฯ ABAC อรรณพ นิพิทเมธาวี

RSA-ABAC Story ตอนที่ 5 โรงเรียนของหนู…อยู่ไกล ไกล๊ ไกล

ถ้าหากใครที่มีโอกาสไปค่ายฯ ครั้งที่ 4 กับ ชมรมค่ายอาสาพัฒนาชนบท ABAC ณ โรงเรียนบ้านขุนน้ำคับ อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก เมื่อกลางเดือนตุลาคม พ.ศ. …

ศิลปะเพื่อชีวิต

สองทศวรรษเพลงเพื่อชีวิตหลัง 6 ตุลา – จากลานโพธิ์ถึงภูพาน (ปณิธาน)

6 ตุลา ผ่านมาครบ 2 ทศวรรษ เป็นประวัติศาสตร์แห่งความขัดแย้งและความรุนแรงทางการเมืองที่หลายๆ คนไม่อยากจะจดจำ คนจำนวนมากไม่อยากให้มีการรื้อฟื้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นที่นำไปสู่การ “ล้อมปราบ” …

ศิลปะเพื่อชีวิต

ฟื้นอดีต ตะวันเพลิง (สุขุม เลาหพูนรังษี)

ละครสลึงเดียว ประมาณกลางหรือปลายปี 2517 ผมจำไม่ได้แน่ชัดรัฐบาลของท่านอาจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้ประกาศขึ้นค่าโดยสารรถเมล์ในกรุงเทพมหานคร (ซึ่งในตอนนั้นกิจการรถเมล์เป็นของเอกชน ยังไม่ได้รวมเป็น ขสมก. …

ค่ายอาสาฯ ABAC อรรณพ นิพิทเมธาวี

RSA-ABAC Story ตอนที่ 4 ก้าวแรก ก้าวที่กล้า

ถนนดินลูกรังสีแดงระยะทางประมาณ 30 กิโลฯ แต่ตลอดสองข้างทางยังมีภูเขาเล็ก ๆ พร้อมต้นไม้เขียวสดใส คงเป็นเพราะกลางเดือนพฤษภาคมแบบนี้ ที่เพิ่งผ่านฝนมาระยะหนึ่ง ไม่เหมือนตอนต้นปีที่ผมเข้ามาที่นี่ ช่วงหน้าแล้งอย่างนั้นมีแต่ฝุ่นเต็มไปหมด …